วันพุธที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

วงเเหวนเเห่งไฟ


'วงแหวนแห่งไฟ' คืออะไร!!!!!!!!

'คลื่นยักษ์ถล่ม' 'ธรณีพิบัติ' 'ภูเขาไฟระเบิด' เชื่อหรือไม่ ทั้ง 3 ภัยพิบัติ เกิดจากต้นกำเนิดเดียวกัน !!

 วงแหวนแห่งไฟ

'Ring of fire' หรือในภาษาไทยแปลว่า 'วงแหวนแห่งไฟ' 
(อังกฤษ: Pacific Ring of Fire หรือ the Ring of fire) เป็นบริเวณในมหา
สมุทรแปซิฟิ
กที่เกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดบ่อยครั้ง มีลักษณะเป็นเส้นเกือกม้า 
ความยาวรว
มประมาณ 40,000 กิโลเมตร และวางตัวตามแนวร่องสมุทร แนวภูเขาไฟ
และบริเวณขอบแผ่นเปลือกโลก โดยมีภูเขาไฟที่ตั้งอยู่ภายในวงแหวนแห่ง
ไฟทั้งหมด 452 ลูก และเป็นพื้นที่ที่มีภูเขาไฟคุกกรุ่นอยู่กว่า 75%

จากข้อมูลอันน่าสะพรึง พบว่าเหตุ แผ่นดินไหวประมาณ 90% ของแผ่นดิน

ไหวที่เกิดขึ้นทั่วโลกและกว่า 80% ของแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ เกิดขึ้นในบริ
เวณวงแหวนแห่งไฟ นอกจากวงแหวนแห่งไฟ ยังมีแนวแผ่นดินไหวอีก 2 แห่ง 
ได้แก่ แนวเทือกเขาอัลไพน์ ซึ่งมีแนวต่อมาจากเกาะชวาสู่เกาะสุมาตรา
 (สาเหตุของแผ่นดินไหวและสึนามิที่ถล่มอินโดนีเซียในขณะนี้) ผ่านเทือกเขา
หิมาลัย และทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แนวแผ่นดินไหวแห่งนี้มีแผ่นดินไหวเกิดขึ้น
 17% ขอทั้งโลก และอีกแห่งคือ แนวกลางมหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งมีแผ่น
ดินไหวเกิดขึ้น 5-6% ของทั้งโลก

ร่องเกือกม้าของวงแหวนแห่งไฟ เกิดจากการเคลื่อนที่และการชนกันของแผ่น

เปลือกโลก
ที่เลื่อนและแยกตัวกันเป็นแผ่น ๆ และมีชื่อแตกต่างกันไปทั่วโลก ซึ่งเราจะโฟ

กัสกันที่รอยเลื่อนและบริเวรใต้วงแหวนที่ส่งผลกับเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
มากที่สุด และเป็นแผ่นเปลือกโลกขนาดเล็กมากมายที่ติดกับแผ่นแปซิฟิก

เริ่มตั้งแต่หมู่เกาะมาเรียน่า ประเทศฟิลิปปินส์ เกาะบัวเกนวิลเล ประเทศตองกา

 และประเทศนิวซีแลนด์ แนววงแหวนแห่งไฟยังมีแนวต่อไปเป็น แนวอัลไพน์ 
ซึ่งเริ่มต้นจากเกาะชวา เกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย รอยเลื่อนที่มีชื่อเสียงที่
ตั้งบนวงแหวนแห่งไฟนี้ ได้แก่ รอยเลื่อนซานอันเดรียส ในรัฐแคลิฟอร์เนีย 
ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีการเกิดแผ่นดินไหวขนาดเล็กอยู่เป็นประจำ

ภูเขาไฟที่มีชื่อเสียงที่ตั้งอยู่ในวงแหวนแห่งไฟ (เฉพาะในเอเชีย) ภูเขาไฟฟูจิ 

ประเทศญี่ปุ่น ระเบิดครั้งล่าสุดเมื่อ ค.ศ. 1707 ภูเขาไฟพินาตูโบ มายอน ทาล
 และคานลายอน ประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งภูเขาไฟพินาตูโบเคยเกิดระเบิดครั้งใหญ่
ที่สุดเมื่อปี ค.ศ. 1991 ภูเขาไฟแทมโบรา เคลูด และเมราปี ในประเทศอินโดนีเซีย 
(ลูกที่กำลังระเบิดอยู่ในขณะนี้) ภูเขาไฟลูอาเปทู ประเทศนิวซีแลนด์

สรุปง่าย ๆ ก็คือ ทั้งแผ่นดินไหว สึนามิ ภูเขาไฟระเบิด ล้นมีผลมาจากการเป็น

พื้นที่ที่ตั้งอยู่บน 'วงแหวนแห่งไฟ' ทำให้มีภูมิประเทศทั้งบนบก ทะเล และ
ใต้พื้นดิน เอื้อต่อการเผชิญหน้ากับภัยธรรมชาติมากที่สุด

ส่วนชื่อประเทศที่ตั้งหรือมีพื้นที่บางส่วนอยู่ในแนววงแหวนแห่งไฟ ได้แก่

 ประเทศเบลีซ โบลิเวีย บราซิล แคนาดา โคลัมเบีย ชิลี คอสตาริกา 
เอกวาดอร์ ติมอร์ตะวันออก เอลซัลวาดอร์ ไมโครนีเซีย ฟิจิ กัวเตมาลา
 ฮอนดูรัส อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น คิริบาตี เม็กซิโก นิวซีแลนด์ นิการากัว ปาเลา
 ปาปัวนิวกินี ปานามา เปรู ฟิลิปปินส์ รัสเซีย ซามัว หมู่เกาะโซโลมอน 
ตองกา ตูวาลู และสหรัฐอเมริกา

โดยประเทศต่างๆ เหล่านี้ เป็นประเทศที่ต้องเฝ้าระวังภัยทางธรรมชาติ

ที่อาจเกิดจากแผ่นดินไหว สึนามิ และภูเขาไฟระเบิดมากถึงมากที่สุด

คลื่นสึนามิ  เกิดขึ้นจากการกระทบกระเทือนที่ทำให้น้ำปริมาณมากเกิดการเคลื่อนตัว เช่น แผ่นดินไหว แผ่นดินถล่ม หรืออุกกาบาตพุ่งชน
เมื่อแผ่นดินใต้ทะเลเกิดการเปลี่ยนรูปร่างอย่างกระทันหัน จะทำให้น้ำทะเลเกิดเคลื่อนตัวเพื่อปรับระดับให้เข้าสู่จุดสมดุลและจะก่อให้เกิดคลื่นสึนามิ การเปลี่ยนรูปร่างของพื้นทะเลมักเกิดขึ้นเมื่อเกิดแผ่นดินไหวเนื่องจากการขยับตัวของเปลือกโลก ซึ่งจะเกิดบริเวณที่ขอบของเปลือกโลกหลายแผ่นเชื่อมต่อกันที่เรียกว่า รอยเลื่อน (fault) เช่น

บริเวณขอบของมหาสมุทรแปซิฟิก นอกจากแผ่นดินไหวแล้ว ดินถล่มใต้น้ำที่มักเกิดร่วมกับแผ่นดินไหวสามารถทำให้เกิดคลื่นสึนามิได้เช่นกัน

นอกจากการกระทบกระเทือนที่เกิดใต้น้ำแล้ว การที่พื้นดินขนาดใหญ่ถล่มลงทะเล หรือการตกกระทบพื้นน้ำของเทหวัตถุ ก็สามารถทำให้เกิดคลื่นได้ คลื่นสึนามิที่เกิดในรูปแบบนี้จะลดขนาดลงอย่างรวดเร็วและไม่มีผลกระทบต่อชายฝั่งที่อยู่ห่างไกลมากนัก อย่างไรก็ตาม ถ้าแผ่นดินมีขนาดใหญ่มากพอ อาจทำให้เกิด เมกะสึนามิ ซึ่งอาจมีความสูงร่วมร้อยเมตรได้

    



ภาพปรากฎการณ์ต่างๆ


ภูเขาไฟระเบิดครั้งใหญ่


สึนามิถล่มภูเก็ต เมื่อ 26/12/47



สึนามิถล่มจังหวัดกระบี่


สึนามิถล่มประเทศญี่ปุ่น

ข่าวแผ่นดินไหวญี่ปุ่น

ข่าว1

กรมทรัพยากรธรณีขออย่าโยงแผ่นดินไหวพม่ากับวันสิ้นโลก
ผู้อำนวยการทรัพยากรธรณี ลำปาง แจง แผ่นดินไหวพม่า ไม่เกี่ยววันสิ้นโลก วอน ประชาชนอย่าเชื่อมโยง
นายสมบูรณ์ โฆษิตานนท์ ผู้อำนวยการสำนักงานทรัพยากรธรณี เขต 1 ลำปาง ซึ่งเป็นหน่วยงานในระดับภูมิภาคของกรมทรัพยากรธรณี ตั้งอยู่ที่ จ.ลำปาง ดูแลพื้นที่ 17 จังหวัดภาคเหนือ เปิดเผยว่า ในเดือนธันวาคม 2555 นี้ ประเทศพม่าซึ่งอยู่ใกล้กับภาคเหนือของประเทศไทย ได้เกิดแผ่นดินไหวไปแล้ว 17 ครั้ง ซึ่งครั้งล่าสุดเกิดขึ้น เมื่อเวลา 07.54 น. ของวันนี้ ขนาด 4.6 ริกเตอร์ จุดศูนย์กลางอยู่ในประเทศพม่า
อย่างไรก็ตาม จากการเกิดแผ่นดินไหวครั้งล่าสุด ซึ่งถือว่าแรงสั่นสะเทือนส่งมายัง อ.แม่สาย จ.เชียงราย ขอให้ประชาชน อย่าได้โยงเชื่อมกับวันสิ้นโลก เพราะถือว่าเป็นเรื่องที่ปกติที่ในประเทศพม่าจะเกิดแผ่นดินไหวบ่อยครั้ง เพราะมีรอยเลื่อนขนาดใหญ่และขนาดเล็กที่มีพลังพาดผ่านอยู่มาก

รายงานแผ่นดินไหว

รายงานแผ่นดินไหว 
แผ่นดินไหวที่ YUNNAN, CHINA
ขนาด: 4.7 ริกเตอร์
จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว: YUNNAN, CHINA
วันที่: 20 กุมภาพันธ์ 2556 12:01 น.
ละติจูด: 23° 18' 00'' เหนือ
ลองจิจูด: 101° 45' 00'' ตะวันออก
ความลึกจากระดับผิวดิน: 10 กิโลเมตร
เพิ่มเติม:

รายงานแผ่นดินไหวในรอบ 15 วัน
วันที่เวลาจุดศูนย์กลางละติจูดลองจิจูดขนาดลึกจากพื้นดินหมายเหตุ
20 ก.พ. 5612:01YUNNAN, CHINA23° 18' 00'' N101° 45' 00'' E4.7 10 
20 ก.พ. 5602:21GUANGXI, CHINA23° 52' 48'' N107° 27' 36'' E4.7 
19 ก.พ. 5623:42CELEBES SEA2° 12' 00'' N121° 14' 24'' E4.4 37 
19 ก.พ. 5618:08SUNDA STRAIT, INDONESIA6° 40' 12'' S104° 18' 00'' E5.0 30 
19 ก.พ. 5614:55EASTERN SICHUAN, CHINA28° 21' 36'' N104° 58' 12'' E4.6 49 
19 ก.พ. 5613:52TAIWAN22° 54' 00'' N120° 36' 36'' E4.5 17 
19 ก.พ. 5609:47SICHUAN-YUNNAN-GUIZHOU RG, CHINA27° 13' 12'' N103° 02' 24'' E4.9 40 
19 ก.พ. 5609:47EASTERN SICHUAN, CHINA27° 21' 00'' N102° 59' 24'' E4.9 10 
19 ก.พ. 5609:12TAIWAN23° 21' 36'' N120° 34' 12'' E4.5 16 
18 ก.พ. 5623:58TAIWAN REGION22° 36' 36'' N119° 47' 24'' E4.5 26 
18 ก.พ. 5623:01SOUTHWESTERN RYUKYU ISL., JAPAN24° 51' 00'' N125° 25' 48'' E4.6 10 
17 ก.พ. 5622:14NORTHERN SUMATRA, INDONESIA5° 04' 48'' N95° 30' 00'' E4.6 10 
17 ก.พ. 5617:48RYUKYU ISLANDS, JAPAN25° 45' 00'' N127° 30' 36'' E4.2 41 
17 ก.พ. 5608:32TAIWAN24° 19' 12'' N121° 30' 36'' E4.7 20 
17 ก.พ. 5605:20SULAWESI, INDONESIA1° 01' 48'' S123° 28' 48'' E5.0 
16 ก.พ. 5622:25PHILIPPINE ISLANDS REGION6° 00' 00'' N127° 28' 48'' E5.3 50 
16 ก.พ. 5612:55SOUTHERN SUMATRA, INDONESIA2° 31' 48'' S103° 02' 24'' E4.3 
16 ก.พ. 5601:33NORTHERN SUMATRA, INDONESIA4° 36' 00'' N95° 03' 00'' E4.8 58 
16 ก.พ. 5601:33OFF W COAST OF NORTHERN SUMATRA4° 30' 00'' N94° 57' 00'' E4.8 55 
16 ก.พ. 5601:33OFF W COAST OF NORTHERN SUMATRA4° 28' 48'' N94° 52' 48'' E4.8 36 
15 ก.พ. 5606:58KEPULAUAN BATU, INDONESIA0° 28' 48'' N98° 24' 36'' E4.7 10 
15 ก.พ. 5604:46KEPULAUAN BATU, INDONESIA0° 27' 36'' N98° 37' 48'' E4.6 38 
15 ก.พ. 5602:16SOUTHERN SUMATRA, INDONESIA3° 37' 48'' S102° 32' 24'' E4.5 10 
15 ก.พ. 5601:57FLORES SEA7° 34' 48'' S119° 39' 00'' E4.7 10 
14 ก.พ. 5621:18ต.แม่คง อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน18° 16' 12'' N97° 40' 48'' E2.0 สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
14 ก.พ. 5618:15KEPULAUAN BATU, INDONESIA0° 20' 24'' N98° 31' 48'' E4.7 10 
13 ก.พ. 5618:00SOUTHERN SUMATRA, INDONESIA2° 57' 00'' S101° 15' 36'' E5.5 22 
13 ก.พ. 5600:08CELEBES SEA3° 12' 36'' N122° 14' 24'' E4.5 10 
12 ก.พ. 5615:51SERAM, INDONESIA3° 09' 00'' S128° 52' 12'' E4.3 10 
12 ก.พ. 5606:03JAVA, INDONESIA7° 06' 36'' S105° 04' 48'' E4.5 52 
11 ก.พ. 5619:18OFF W COAST OF NORTHERN SUMATRA2° 10' 12'' N92° 53' 24'' E4.4 10 
11 ก.พ. 5608:02NORTHERN SUMATRA, INDONESIA4° 55' 48'' N96° 07' 48'' E4.4 13 
08 ก.พ. 5619:34MOLUCCA SEA1° 21' 00'' N126° 40' 48'' E4.8 10 
08 ก.พ. 5603:41MOLUCCA SEA0° 19' 12'' N124° 24' 00'' E4.7 53 
08 ก.พ. 5600:49ประเทศลาว19° 15' 36'' N102° 01' 12'' E3.9 สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
07 ก.พ. 5622:22SOUTHERN SUMATRA, INDONESIA5° 34' 12'' S103° 18' 00'' E4.7 60 
07 ก.พ. 5615:03NIAS REGION, INDONESIA0° 15' 00'' N98° 22' 48'' E5.0 10 
07 ก.พ. 5610:12ประเทศพม่า21° 06' 00'' N99° 51' 00'' E4.3 สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
07 ก.พ. 5607:41NORTHERN SUMATRA, INDONESIA1° 28' 48'' N98° 48' 36'' E5.1 85 
07 ก.พ. 5605:12SOUTHERN SUMATRA, INDONESIA1° 22' 12'' S100° 24' 00'' E5.5 40 
06 ก.พ. 5618:58TAIWAN24° 05' 24'' N121° 31' 48'' E4.5 24 
06 ก.พ. 5616:00TAIWAN24° 24' 00'' N121° 53' 24'' E4.2 20 
06 ก.พ. 5604:52ประเทศพม่า19° 46' 48'' N98° 26' 24'' E1.6 สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
05 ก.พ. 5623:15NORTHWEST OF RYUKYU ISLANDS29° 10' 12'' N128° 28' 12'' E5.1 60 
05 ก.พ. 5623:15RYUKYU ISLANDS, JAPAN28° 46' 48'' N128° 38' 24'' E4.9 53 
05 ก.พ. 5617:08SOUTH OF JAVA, INDONESIA9° 09' 36'' S110° 36' 00'' E4.5 10 
05 ก.พ. 5610:57ANDAMAN ISLANDS, INDIA REGION14° 01' 12'' N92° 51' 00'' E4.9 24 
05 ก.พ. 5603:08ประเทศพม่า18° 05' 24'' N96° 43' 12'' E2.9 สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
04 ก.พ. 5616:33MOLUCCA SEA0° 36' 36'' N126° 16' 12'' E4.7 15 
04 ก.พ. 5614:16LUZON, PHILIPPINES16° 13' 12'' N120° 34' 48'' E4.6 55 
04 ก.พ. 5608:19ANDAMAN ISLANDS, INDIA REGION11° 58' 48'' N92° 39' 00'' E4.8 54 
04 ก.พ. 5604:46TAIWAN23° 27' 00'' N121° 41' 24'' E4.3 30 
02 ก.พ. 5618:54SOUTH OF JAVA, INDONESIA9° 46' 48'' S112° 52' 48'' E4.6 55 
02 ก.พ. 5613:36ประเทศพม่า16° 19' 48'' N96° 22' 12'' E4.2 สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
02 ก.พ. 5610:39TAIWAN REGION23° 46' 12'' N122° 04' 48'' E5.2 27 
02 ก.พ. 5608:19JAVA, INDONESIA7° 09' 00'' S105° 17' 24'' E5.1 20 
02 ก.พ. 5603:20ประเทศพม่า20° 24' 00'' N99° 49' 48'' E2.3 สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
01 ก.พ. 5603:08ต.แม่ฮี้ อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน19° 18' 00'' N98° 33' 36'' E1.5 สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
01 ก.พ. 5602:45RYUKYU ISLANDS, JAPAN26° 41' 24'' N126° 16' 48'' E4.5 88 
31 ม.ค. 5615:45ประเทศพม่า20° 32' 24'' N99° 33' 36'' E3.5 สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
31 ม.ค. 5611:10SOUTHERN SUMATRA, INDONESIA4° 42' 00'' S102° 24' 00'' E4.9 50 
30 ม.ค. 5622:34PHILIPPINE ISLANDS REGION10° 34' 12'' N126° 53' 24'' E4.7 30 
30 ม.ค. 5620:18KEPULAUAN TALAUD, INDONESIA4° 49' 12'' N126° 56' 24'' E4.7 22 
30 ม.ค. 5619:57PHILIPPINE ISLANDS REGION10° 28' 48'' N126° 53' 24'' E5.0 10 
30 ม.ค. 5614:31SOUTHERN SUMATRA, INDONESIA0° 43' 48'' N99° 25' 12'' E4.5 35 
30 ม.ค. 5610:53ประเทศพม่า19° 40' 12'' N96° 05' 24'' E3.2 สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
30 ม.ค. 5609:32PHILIPPINE ISLANDS REGION10° 37' 12'' N126° 46' 12'' E5.4 36 
30 ม.ค. 5602:50ประเทศพม่า17° 54' 00'' N96° 47' 24'' E2.8 สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
29 ม.ค. 5611:41FLORES SEA7° 52' 12'' S119° 00' 36'' E4.5 19 
28 ม.ค. 5609:24HALMAHERA, INDONESIA0° 18' 36'' N129° 19' 48'' E4.7 10 
28 ม.ค. 5603:57RYUKYU ISLANDS, JAPAN27° 21' 00'' N128° 24' 00'' E5.2 60 
27 ม.ค. 5621:24NORTHERN SUMATRA, INDONESIA4° 57' 00'' N95° 51' 00'' E4.6 46 
27 ม.ค. 5614:12ประเทศพม่า20° 14' 24'' N99° 16' 12'' E2.5 สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
27 ม.ค. 5611:05SOUTHERN SUMATRA, INDONESIA5° 06' 00'' S102° 59' 24'' E5.0 64 
27 ม.ค. 5607:27SAVU SEA9° 24' 00'' S121° 54' 36'' E4.9 76 
26 ม.ค. 5621:13SOUTH OF JAVA, INDONESIA9° 20' 24'' S113° 09' 00'' E4.5 10 
26 ม.ค. 5605:40MINDANAO, PHILIPPINES9° 25' 12'' N126° 04' 48'' E4.8 89 
25 ม.ค. 5612:00NORTHERN SUMATRA, INDONESIA5° 00' 00'' N95° 57' 36'' E4.5 
23 ม.ค. 5616:51SUMBA REGION, INDONESIA9° 49' 48'' S119° 05' 24'' E4.6 54 
23 ม.ค. 5606:54NICOBAR ISLANDS, INDIA REGION7° 20' 24'' N93° 27' 36'' E4.7 30 
22 ม.ค. 5609:06ใกล้ชายฝั่งทางตอนใต้ของประเทศพม่า16° 17' 24'' N96° 27' 00'' E4.1 สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
22 ม.ค. 5605:48NORTHERN SUMATRA, INDONESIA4° 59' 24'' N95° 57' 00'' E4.7 15 
22 ม.ค. 5605:22NORTHERN SUMATRA, INDONESIA4° 57' 36'' N95° 57' 36'' E5.9 
22 ม.ค. 5602:27MINDANAO, PHILIPPINES5° 31' 48'' N126° 21' 36'' E4.8 80 
เวลาไทยริกเตอร์กิโลเมตร



                                                                                              ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา

วันพุธที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

การกำเนิดของวงแหวนแห่งไฟ


การกำเนิดของ "วงแหวนแห่งไฟ" นั้น สืบเนื่องมาจากแผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่มาชนกัน และมุดตัวซ้อนกันในแต่ละทวีปเมื่อหลายล้านปีก่อน คือ
- แผ่นนาซคา ชนกับแผ่นอเมริกาใต้ กลายเป็นเทือกเขาแอนดีส และทำให้เกิดภูเขาไฟหลายแห่ง เช่น ภูเขาไฟโกโตปักซี ประเทศเอกวาดอร์
- แผ่นโคคอสในอเมริกากลาง ชนกับแผ่นอเมริกาเหนือ
- แผ่นฮวนดีฟูกา และแผ่นกอร์ดามุดตัวลงในแผ่นอเมริกาเหนือ และบริติช โคลัมเบีย บริเวณเกิดภูเขาไฟเซนต์ เฮเลนส์ ในสหรัฐอเมริกา และครั้งล่าสุดระเบิดไปเมื่อปี ค.ศ.1980
- ทางตอนเหนือที่ติดกับทางตะวันตกเฉียงเหนือของแผ่นแปซิฟิก มุดตัวลงใต้บริเวณเกาะเอลูเชียนจนถึงทางใต้ของประเทศญี่ปุ่น บริเวณนี้จึงเกิดภูเขาไฟฟูจิที่มีชื่อเสียงมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก
- ทางตอนใต้มีแผ่นเปลือกโลก ขนาดเล็กมากมายติดกับแผ่นแปซิฟิก ทำให้เกิดภูเขาไฟทั้งในนิวกินี ไมโครนีเซียน